Skip to main content

อุตสาหกรรมการบิน (Aviation Industry)

Enrollment is Closed

ถ้าคุณต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับอุตสาหกรรมด้านการบิน

ต้องการหาข้อมูลด้านการประกอบวิชาชีพทางการบิน


ห้ามพลาดวิชานี้ "ลงทะเบียนได้เลย"


มาเรียนรู้ด้วยกันนะคะ wink

banner

คำอธิบายรายวิชา

ความเป็นมาและความสำคัญของอุตสาหกรรมการบิน ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอากาศยาน หลักการบินเบื้องต้น ท่าอากาศยาน สายการบิน หน่วยงานในอุตสาหกรรมการบินของไทยและของโลก และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบุคลากรในสายงาน ลาดับและขั้นตอนการเดินทางโดยเครื่องบิน และขั้นตอนการปฏิบัติงานของฝ่ายอำนวยการบิน

คณาจารย์ผู้สอน

Course Staff Image #1

น.ต.ดร.วัฒนา มานนท์
คณบดีและรักษาการหัวหน้าสาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการบิน

วิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

 

 

Course Staff Image #2

อาจารย์สถาวร เลิศสุวรรณกุล
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและรักษาการหัวหน้าสาขาวิชาธุรกิจการบินวิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

 

 

Course Staff Image #3

อาจารย์ปวรรัตน์ สุภิมารส
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา วิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

 

 

Course Staff Image #4

อาจารย์สมศักดิ์ สว่างอารมย์
อาจารย์ประจำหลักสูตรธุรกิจการบิน
วิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

 

 

Course Staff Image #5

อาจารย์ขนิษฐา แก้วพวงงาม
อาจารย์ประจำหลักสูตรธุรกิจการบิน
วิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

 

 

Course Staff Image #6

อาจารย์ศศิธร นวมมณีรัตน์
อาจารย์ประจำหลักสูตรธุรกิจการบิน
วิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

 

 

Course Staff Image #7

อาจารย์ปัณณกร เกิดช่วย
อาจารย์ประจำหลักสูตรธุรกิจการบิน
วิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

 ติดต่ออาจารย์ผู้สอน Email : cadt@dpu.ac.th

 

 ข้อมูลเพิ่มเติม

เวลาในการศึกษา :

10 ชั่วโมงการเรียนรู้

ระยะเวลาสื่อวีดีทัศน์ 213 นาที (3 ชั่วโมง 33 นาที)

เวลาในการศึกษาต่อสัปดาห์ : 2 ชั่วโมงการเรียนรู้ (เรียนแบบออนไลน์ 100%)
ประเภทของการเรียนในรายวิชา : เรียนด้วยตนเอง
กำหนดการสอน :   
ค่าธรรมเนียมการเรียน : ไม่มี
สื่อการเรียนรู้ : วีดิทัศน์สื่อการเรียนรู้ เอกสารประกอบการสอน (เว็บลิ้งค์)
และ แบบทดสอบที่ใช้ในการเรียนการสอน
ภาษาหลักของสื่อการสอน : ภาษาไทย และภาษาอังกฤษเบื้องต้น
ระดับความยากง่ายของเนื้อหา : ระดับเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานที่ต้องมี : -
คุณสมบัติผู้เรียน : นักศึกษาระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 และบุคลากรด้านการบิน หรือบุคคลทั่วไปที่มีความสนใจในอุตสาหกรรมการบิน
รายวิชานี้เหมาะสมกับ :  นิสิต-นักศึกษาระดับปริญญาตรี ไม่จำกัดสาขา / นักเรียน / ประชาชนทั่วไป
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ :

LO1 : ผู้เรียนสามารถอธิบายความเป็นมาของประวัติศาสตร์การบิน ความสำคัญของอุตสาหกรรมการบิน และสามารถยกตัวอย่างองค์ประกอบสำคัญของอุตสาหกรรมการบิน รวมถึงเลือกใช้รูปแบบการสื่อสารที่เหมาะสมในอุตสาหกรรมการบินได้


LO2 : ผู้เรียนสามารถบอกส่วนประกอบของอากาศยาน และอธิบายหลักการบินเบื้องต้นของอากาศยานได้ รวมถึงสามารถบอกความหมาย องค์ประกอบ และบทบาทหน้าที่ของท่าอากาศยาน และสายการบินได้


LO3 : ผู้เรียนสามารถอธิบายความสำคัญ และหน้าที่ของหน่วยงานที่มีความสำคัญในอุตสาหกรรมการบินของไทย และของโลกได้


LO4 : ผู้เรียนสามารถอธิบายหน้าที่ ลักษณะงาน และความรับผิดชอบของสายงานต่างๆในอุตสาหกรรมการบิน และสามารถบอกคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบุคลากรในสายงานดังกล่าวได้ รวมถึงสามารถอธิบายเส้นทางการประกอบอาชีพ (Career Path) ของสายงานต่างๆ ได้


LO5 : ผู้เรียนสามารถบอกลำดับและขั้นตอนการเดินทางโดยเครื่องบิน และอธิบายขั้นตอนการปฏิบัติงานของฝ่ายอำนวยการบินได้

เกณฑ์การผ่านวิชา และได้ใบประกาศนียบัตร (หากมี):

เข้าทำแบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรมในบทเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน ผู้เรียนมีคะแนนรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 70% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับประกาศนียบัตรในระบบได้

แบบทดสอบก่อนเรียน  0% แบบทดสอบย่อยหลังเรียน 12 ครั้ง 60%

กิจกรรมใบงาน 2 ครั้ง 10% แบบทดสอบหลังเรียน (Final Exam)30%

ประมวลรายวิชา :  ประมวลรายวิชา (PDF)
โครงสร้างรายวิชา :  โครงสร้างรายวิชา (PDF)

  

ปฏิทินการสอน

เปิดสอนตั้งแต่วันที่ 24 กรกฎาคม - 15 สิงหาคม 2562

แนะนำรายวิชา
แนะนำรายวิชา
ชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 1 : ประวัติศาสตร์การบิน และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการบิน
แบบฝึกหัดก่อนเรียน
วิวัฒนาการด้านการบินของโลก
กิจกรรมการเรียนรู้ Discussion
ความเป็นมา ของการบินของไทย
บุคคลสำคัญด้านการบินของไทย
แบบฝึกหัดหลังเรียน
ชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 2 : องค์ประกอบและความสำคัญของอุตสาหกรรมการบิน
แบบฝึกหัดก่อนเรียน
ความสำคัญของอุตสาหกรรมการบิน
5As (องค์ประกอบของอุตสาหกรรมการบิน)
3S (Safety, Security, Service)
แบบฝึกหัดหลังเรียน
ชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 3 : การออกเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษตามมาตรฐานด้านการบิน
แบบฝึกหัดก่อนเรียน
การออกเสียง ICAO Alphabets
กิจกรรมการเรียนรู้ Discussion
รหัสสนามบิน
รหัสสายการบิน
แบบฝึกหัดหลังเรียน
ชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 4 : อากาศยาน
แบบฝึกหัดก่อนเรียน
ความหมายของอากาศยาน
วัตถุที่ไม่ใช่อากาศยาน
ส่วนประกอบของอากาศยาน
หลักการบินเบื้องต้น
แบบฝึกหัดก่อนเรียน
ชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 5 : ท่าอากาศยาน
แบบฝึกหัดก่อนเรียน
ความหมายของท่าอากาศยาน
ประเภทของท่าอากาศยาน
ส่วนประกอบของท่าอากาศยาน Airside
ส่วนประกอบของท่าอากาศยาน Landside
หน้าที่ของท่าอากาศยาน
แบบฝึกหัดหลังเรียน
ชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 6 : สายการบิน
แบบฝึกหัดก่อนเรียน
ความหมายของสายการบิน
ผู้ผลิตอากาศยาน
ประเภทของการบริการสายการบิน
กลุ่มพันธมิตรสายการบิน
แบบฝึกหัดหลังเรียน
สรุปบทเรียนเรื่องสายการบิน
ชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 7: หน่วยงานในอุตสาหกรรมการบินระหว่างประเทศ
แบบฝึกหัดก่อนเรียน
ICAO
IATA
FAA
EASA
แบบฝึกหัดหลังเรียน
ชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 8 : หน่วยงานในอุตสาหกรรมการบินของไทย
แบบฝึกหัดก่อนเรียน
CAAT
MET
AOT
DOA
วิทยุการบิน
แบบฝึกหัดหลังเรียน
ชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 9 : หน้าที่ ลักษณะงาน และความรับผิดชอบ
แบบฝึกหัดก่อนเรียน
หน้าที่ ลักษณะงาน ความรับผิดชอบ พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน
หน้าที่ ลักษณะงาน ความรับผิดชอบ พนักงานต้อนรับภาคพื้นดิน
หน้าที่ ลักษณะงาน ความรับผิดชอบ พนักงานอำนวยการบิน
หน้าที่ ลักษณะงาน ความรับผิดชอบ เจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศ
หน้าที่ ลักษณะงาน ความรับผิดชอบ นักบิน
แบบฝึกหัดหลังเรียน
ชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 10 : คุณลักษณะอันพึงประสงค์
แบบฝึกหัดก่อนเรียน
คุณสมบัติบุคลากรในสายพนักงานต้อนรับบินเครื่องบิน
คุณสมบัติบุคลากรในสายพนักงานต้อนรับภาคพื้นดิน
คุณสมบัติบุคลากรในสายพนักงานอำนวยการบิน
คุณสมบัติบุคลากรในสายเจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศ
คุณสมบัติของการเป็นนักบิน
แบบฝึกหัดหลังเรียน
ชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 11 : ขั้นตอนการเดินทางโดยเครื่องบิน
แบบฝึกหัดก่อนเรียน
การเดินทางขาเข้า - ขาออก
แบบฝึกหัดหลังเรียน
ชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 12 : การทำงานของฝ่ายอำนวยการบิน
แบบฝึกหัดก่อนเรียน
การปฎิบัติงานของนักบิน
แบบฝึกหัดหลังเรียน
Final Examination (30%)

 

CC-BY-NC-SA